Mechanical and Aerospace Engineering Department
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (MME)
แผนการศึกษา | คำอธิบายรายวิชา | แผนภูมิความต่อเนื่อง
ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program in Mechanical Engineering |
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วศ.ม.(วิศวกรรมเครื่องกล) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Mechanical Engineering) ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Mechanical Engineering) |
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต |
รูปแบบ หลักสูตร 2 ปี แผน ก แบบ ก 2 |
ภาษาที่ใช้ การจัดการเรียนการสอนใช้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ |
การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทยหรือนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้ |
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
|
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา – นักวิจัยด้านวิศวกรรมเครื่องกลและสาขาที่เกี่ยวข้อง – วิศวกร – ผู้จัดการโครงการทางวิศวกรรม – ผู้ประกอบการ – นักวิชาชีพในสถานประกอบการที่มีการใช้เทคโนโลยีทางวิศวกรรมเครื่องกล – อาจารย์ – นักวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย – อื่นๆ |
ความสำคัญของหลักสูตร ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐมีการพัฒนาและนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ทำให้มีความต้องการบุคลากรด้านวิศวกรรมเครื่องกลจำนวนมาก ดังนั้นภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศจึงได้เสนอหลักสูตรนี้เพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าวโดยมุ่งหวังให้มหาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ในหลักสูตรนี้เป็นวิศวกรที่มีความรู้และทักษะในศาสตร์ที่ลึกซึ้งด้านวิศวกรรมเครื่องกล ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ ต่อการพัฒนาประเทศ |
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
|
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ (MAE)
แผนการศึกษา | คำอธิบายรายวิชา | แผนภูมิความต่อเนื่อง
ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program in Aerospace Engineering |
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมการบินและอวกาศ) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วศ.ม.(วิศวกรรมการบินและอวกาศ) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Aerospace Engineering) ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Aerospace Engineering) |
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต |
รูปแบบ หลักสูตร 2 ปี แผน ก แบบ ก 2 |
ภาษาที่ใช้ การจัดการเรียนการสอนใช้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ |
การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทยหรือนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้ |
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
|
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา – นักวิจัยด้านวิศวกรรมการบินและอวกาศและสาขาที่เกี่ยวข้อง – วิศวกร – ผู้จัดการโครงการทางวิศวกรรม – ผู้ประกอบการ – นักวิชาชีพในสถานประกอบการที่มีการใช้เทคโนโลยีทางวิศวกรรมการบินและอวกาศ – อาจารย์ – นักวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย – อื่นๆ |
ความสำคัญของหลักสูตร ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐมีการพัฒนาและนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ทำให้มีความต้องการบุคลากรด้านวิศวกรรมการบินและอวกาศจำนวนมาก ดังนั้นภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและ การบิน-อวกาศจึงได้เสนอหลักสูตรนี้เพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าวโดยมุ่งหวังให้มหาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรนี้เป็นวิศวกรที่มีความรู้และทักษะในศาสตร์ที่ลึกซึ้งด้านวิศวกรรมการบินและอวกาศ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ |
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
|
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (S-MME)
หลักสูตรพิเศษ S-MME มีเนื้อหาด้านวิชาการเหมือนกับหลักสูตรภาคปกติ (MME หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล) แต่มีการจัดการเรียนการสอนที่่เหมาะสมกับผู้เรียนที่ทำงานไปด้วย โดยจะจัดการเรียนการสอนในช่วงเย็นของวันจันทร์-ศุกร์ และวันเสาร์-อาทิตย์ โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนสามารถนำประสบการณ์จากการทำงานมาต่อยอดร่วมกับกระบวนการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา
แผนการศึกษา | คำอธิบายรายวิชา | แผนภูมิความต่อเนื่อง
ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program in Mechanical Engineering |
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วศ.ม.(วิศวกรรมเครื่องกล) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Mechanical Engineering) ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Mechanical Engineering) |
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต |
รูปแบบ หลักสูตร 2 ปี แผน ก แบบ ก 2 |
ภาษาที่ใช้ การจัดการเรียนการสอนใช้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ |
การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทยหรือนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้ |
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
|
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา – นักวิจัยด้านวิศวกรรมเครื่องกลและสาขาที่เกี่ยวข้อง – วิศวกร – ผู้จัดการโครงการทางวิศวกรรม – ผู้ประกอบการ – นักวิชาชีพในสถานประกอบการที่มีการใช้เทคโนโลยีทางวิศวกรรมเครื่องกล – อาจารย์ – นักวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย – อื่นๆ |
ความสำคัญของหลักสูตร ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐมีการพัฒนาและนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ทำให้มีความต้องการบุคลากรด้านวิศวกรรมเครื่องกลจำนวนมาก ดังนั้นภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศจึงได้เสนอหลักสูตรนี้เพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าวโดยมุ่งหวังให้มหาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ในหลักสูตรนี้เป็นวิศวกรที่มีความรู้และทักษะในศาสตร์ที่ลึกซึ้งด้านวิศวกรรมเครื่องกล ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ ต่อการพัฒนาประเทศ |
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
|